บทที่ 6 วงพิณ

วงพิณ

ประกอบด้วยเครื่องดนตรีพื้นบ้านอีสาน ที่มีพิณเป็นหลัก จะมีจำนวนสักกี่เครื่องก็ได้ นอกจากนี้ก็มีเครื่องดนตรีอื่นๆ มาร่วมบรรเลงตามที่เห็นว่าเหมาะสม เช่น แคน ซอ ฉิ่ง ฉาบ ฯลฯ
ชื่อภูมิปัญญาท้องถิ่น วงพิณประยุกต์ (เดิมเป็นวงแคนประยุกต์)ประเภท ดนตรีพื้นเมือง
ลักษณะภูมิปัญญาท้องถิ่น
จำนวนผู้แสดง 10 คน
การแต่งกาย สวมเสื้อลายดอก คาดผ้าขาวม้าคาดพุง
อุปกรณ์ประกอบการแสดง กลองใหญ่ 2 ลูก กลองบังโก้ 1 ชุด สาลี่แห่ 1 คัน
ฉิ่ง 1 คู่ ฉาบ 1 คู่ พิณ 2 เครื่อง คีย์บอร์ด 1 เครื่อง
เพลงประกอบ จะใช้เนื้อร้องและทำนองเพลงที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน มาบรรเลง
รูปแบบการแสดงเป็นคณะ มีคนร้องนำ
ความเป็นมาของภูมิปัญญา (ได้รับการถ่ายทอด/ประดิษฐ์/คิดค้น)
นายเสรี นามวิชัย เจ้าของภูมิปัญญาวงพิณประยุกต์ ได้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญามาจาก อาจารย์เขียด ไพรศรี ซึ่งปัจจุบันยังมีชีวิตอยู่ อยู่ที่อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งเป็น
วงดนตรีแคนประยุกต์ โดยอาจารย์เขียด ไพรศรี ไดรับการถ่ายทอดมาจากอาจารย์สำราญ ไม่ทราบนามสกุล ซึ่งอยู่ในจังหวัด



วงนี้ ถือเป็นอีกตัวอย่าง ที่ควรแก่การนำเสนอ
ถือว่าเป็นวงดนตรี ประยุกต์ ที่นำเอาศิลป อิสาน มาใช้ในการประกอบการแสดง



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น